วันจันทร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน


         ระบบภูมิคุ้มกัน  เป็นระบบของร่างกายที่ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย  หรือเกิดขึ้นในร่างกาย  เพื่อให้พ้นจากอันตราย  หรือโทษที่เกิดขึ้นจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆ  ถ้ามีน้อยไปหรือมากไปก็จะมีผลเสีย  คือ  ก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน  (Immune   deficiency   disorders) อ่านเพิ่มเติม

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่างกาย

ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาและมีทั้งช่วงเวลาที่แข็งแรงหรืออ่อนแอ ในขณะที่ร่างกายคุณต้องต่อสู้กับเชื้อโรคอย่างต่อเนื่อง อ่านเพิ่มเติม




ระบบภูมิคุ้มกัน

สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ทั้งภายในและภายนอกร่างกายเต็มไปด้วยจุลินทรีย์ขนาดเล็กที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ส่วนใหญ่จุลินทรีย์ที่อยู่รอบตัวเราเหล่านี้ไม่ใช่เชื้อก่อโรคแต่ประการใด แต่ก็มีจุลินทรีย์อีกมากมายที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อ เรียกว่าเชื้อโรค อ่านเพิ่มเติม

ด่านที่สอง แนวป้องกันโดยทั่วไป

  ตามที่พบการระบาดของโรค มือ เท้า ปาก ในประเทศไทย ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม 2555 พบผู้ป่วยแล้วมากกว่า 10,000 ราย จากทุกจังหวัดกระจายไปทุกภาคของประเทศไทย โดยกลุ่มอายุที่พบส่วนใหญ่ คือ เด็กเล็กช่วงอายุต่ำกว่า 2- 5 ปี อ่านเพิ่มเติม


 

ผิวหนัง

ผิวหนัง คือ สิ่งปกคลุมชั้นนอกที่อ่อนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง สิ่งปกคลุมสัตว์อื่น เช่น โครงร่างแข็งภายนอกของสัตว์ขาปล้องมีจุดกำเนิดการเจริญ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีต่างออกไป ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ผิวหนัง อ่านเพิ่มเติม

การป้องกันและกําจัดเชื้อโรคของร่างกาย

 โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง  อ่านเพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย

   สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีกลไกบางอย่างในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม สำหรับสัตว์เลือดเย็น เช่นพวกปลา สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำนั้นมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ อ่านเพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกายคน

การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์
การควบคุมกรด เบส ในร่างกายทั่วไปนั้นหมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนอิออนของน้ำในร่างกายหรือเลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทำงานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆในร่างกาย  อ่านเพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ําและแร่ธาตุในร่างกายคน

ในร่างกายของมนุษย์จะมีน้ำเป็นองค์ประกอบประมาณ 3 ใน 4 หรือประมาณ 75% ของน้ำหนักตัวโดยน้ำที่อยู่ในร่างกายสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ น้ำที่ประกอบอยู่ภายในเซลล์ประมาณ 60% น้ำที่อยู่นอกเซลล์ประมาณ 30% น้ำที่อยู่ในเนื้อเยื่อและน้ำเลือดอีกไม่เกิน 10% ซึ่งน้ำในแต่ละส่วนจะถูกควบคุมให้มีดุลยภาพอยู่ได้ อ่านเพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในสัตว์ต่างๆ

  โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจำเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพของสารต่าง ๆ เพื่อช่วยควบคุมปริมาณสารต่าง ๆ อ่านเพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ําและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

 โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจำเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพของสารต่าง ๆ อ่านเพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ําในพืช

กลไกสำคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช คือ ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ำผ่านปากใบและการดูดน้ำที่ราก ถ้าคายน้ำมากก็ต้องดูดน้ำเข้าทางรากมากเช่นกัน ส่วนมากจะคายน้ำที่ปากใบ
การคายน้ำทางปากใบ เรียกว่า สโตมาทอล ทรานสพิเรชัน ( stomatal transpiration ) เป็นการคายน้ำที่เกิดขึ้นมากถึง 90 % อ่านเพิ่มเติม

กลไกการรักษาดุลยภาพ

การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต
1. การควบคุมภาวะกรด – ด่างด้วยวิธีทางเคมี (chemical regulation of acid – base balane) อ่านเพิ่มเติิม

การลำเลียงสารขนาดใหญ่

เยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติสามารถรวมตัวกับเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์หรือแยกตัวออกเพื่อสร้างเวสิเคิล ทำให้เซลล์สามารถใช้เยื่อหุ้มเซลล์ล้อมรอบสารโมเลกุลใหญ่ได้ อ่านเพิ่มเติม

การลําเลียงสารโดยใช้พลังงาน

การลำเลียงแบบใช้พลังงาน หรือ แอคตีฟทรานสปอร์ต หรือ การขนส่งแบบกัมมันต์ (อังกฤษ: active tranport) เป็นการเคลื่อนสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง การลำเลียงแบบใช้พลังงานในทุกเซลล์โดยปกติเกี่ยวข้องกับการ อ่านเพิ่มเติม

การแพร่แบบฟาซิลิเทต

การแพร่สารแบบฟาซิลิเทต (อังกฤษ: Facilitated Diffusion) คือการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปจนถึงบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำ แต่ต้องอาศัยตัวพาเป็นตัวกลาง (Carrier) ในการแพร่ อ่านเพิ่มเติม

การออสโมซิส

การออสโมซิส (อังกฤษ: Osmosis) เป็นกระบวนการแพร่โมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน.[1] จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำมาก (สารละลายความเข้มข้นต่ำ) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง)  อ่านเพิ่มเติม

การแพร่

การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับเฟสหนึ่งๆของวัสดุใดๆก็ตามที่มีอุณหภูมิสม่ำเสมอ อ่านเพิ่มเติม

การลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย เพื่อปรับหรือรักษาสภาพภายในเซลล์ให้เหมาะสมทำให้สามารถมีชีวิตได้ตามปกติ อ่านเพิ่มเติม


เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเวลล์

เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้  จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น  คือ  กล้องจุลทรรศน์ อ่านเพิ่มเติม